โครงการพัฒนาชุมชนต้นแบบด้านการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์โดยชุมชน จ.พังงา

ชุมชนเกาะยาวน้อย อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา
ภาพรวม
รายรับ-รายจ่ายของชุมชน
ผลการดำเนินโครงการ
รายชื่อผู้ดำเนินกิจกรรม
ช่องทางการติดต่อ
ข้อมูลโครงการเบื้องต้น

พื้นที่เกาะยาวน้อย อ.เกาะยาว จ.พังงา เป็นพื้นที่บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ตั้งแต่ปี 2561 ต่อมาคณะนักวิจัยได้ต่อยอดโจทย์บริการวิชาการ ด้วยการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ที่มีความสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน โดยได้เริ่มดำเนินโครงการวิจัยในปี 2565 โครงการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมสนับสนุนการท่องเที่ยว ชุมชนเกาะยาวน้อย สู่ความยั่งยืนด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียง(ระยะที่ 1) ภายใต้ความร่วมมือของภาคีเครือข่ายพื้นที่ ทั้งภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะยาวน้อย ผู้ใหญ่บ้านชุมชน ตำบลเกาะยาวน้อย 7 หมู่บ้าน (ได้แก่ หมู่ 1 บ้านท่าค่าย หมู่ 2 บ้านใหญ่ หมู่ 3 บ้านน้ำจืด หมู่ 4 บ้านท่าเขา หมู่ 5 บ้านริมทะเลหมู่ 6 บ้านแหลมยาง หมู่ 7 บ้านอันเป้า) สำนักงานเกษตรอำเภอเกาะยาว กลุ่มโฮมสเตย์ชุมชนท่องเที่ยวเกาะยาวน้อยและกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านท่าเขา และขยายผลมาสู่ระยะที่ 2 โดยมุ่งเน้นให้ชุมชนในจังหวัดอื่นที่มีบริบทของชุมชนการท่องเที่ยวทางชายฝั่งทะเลเข้ามาศึกษากิจกรรมงานวิจัย เพื่อนำไปปรับใช้ในชุมชนของตัวเอง 

ตอบโจทย์ 3 จาก 4 มิติการพัฒนาประเทศ
มิติภาคการผลิตและบริการเป้าหมาย
1
2
มิติโอกาสและความเสมอภาคทางเศรษฐกิจและสังคม
มิติความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3
4
มิติปัจจัยผลักดันการพลิกโฉมประเทศ
หลักการ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เงื่อนไขความรู้
เงื่อนไขคุณธรรม
รูปภาพโครงการ
BCG Economy Model
20%
40%
20%
5/17
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)
5/13
หมุดหมายการพัฒนา
กิจกรรมการพัฒนา
1
กิจกรรมพัฒนาชุมชนต้นแบบขยายกลุ่มเป้าหมายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ AR เทคโนโลยี
100%
100%
2
1.พัฒนาต้นแบบชุมชนท่องเที่ยวเกาะเยาวน้อย จังหวัดพังงา เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้การท่องเที่ยวอย่างยั่งยื...
100%
100%
3
.พัฒนาศักยภาพบุคลากรสนับสนุนการท่องเที่ยว “นักเล่าเรื่อง” ผ่าน Digital content
100%
100%
4
2.ถ่ายทอดองค์ความรู้และขยายกลุ่มเป้าหมายผู้ใช้งานแพลตฟอร์มดิจิทัล สำหรับจำหน่ายสินค้าและบริการของชุม...
100%
100%
5
5.พัฒนากิจกรรมเรียนรู้การเกษตรชุมชนด้วยพลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ (Smart Farm)
100%
100%